ทรัพย์สินทางปัญญา

เกี่ยวกับเรา

เกี่ยวกับศูนย์นวัตกิจ (ทรัพย์สินทางปัญญา)

สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา ได้จัดตั้ง “ศูนย์นวัตกิจ” สังกัดสำนักงานสถาบัน ฝ่ายวิชาการวิชาชีพ รับผิดชอบด้านการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาของสถาบัน ประกอบด้วยการสนับสนุน ส่งเสริมการสร้างสรรค์ผลงานของผู้ปฏิบัติงาน ผู้เรียน นักศึกษา ของสถาบัน ให้คำปรึกษาและยื่นขอรับความคุ้มครองสิทธิต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญา ขับเคลื่อนการนำทรัพย์สินทางปัญญาไปแสวงหาผลประโยชน์เชิงพาณิชย์และเชิงสังคม และจัดสรรผลประโยชน์ที่ได้ให้แก่เจ้าของผลงาน และผู้เกี่ยวข้อง

ข้อบังคับ / ระเบียบ / ประกาศ / คำสั่ง


บริการของเรา

การขอรับความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา

ขั้นตอนการยื่นขอรับความคุ้มครอง

คำแนะนำในการยื่นจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์ / อนุสิทธิบัตร

– สืบค้นข้อมูลความใหม่จากฐานข้อมูลสิทธิบัตรทั่วโลก อาทิ เช่น

 

– การกรอกแบบฟอร์มแสดงความจำนงการขอรับความคุ้มครอง และจัดทำร่างคำขอ

  • ตัวอย่างบันทึกข้อความ กรณีสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
  • แบบฟอร์มแสดงความจำนงการขอจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร (Invention Disclosure)
  • รายละเอียดการประดิษฐ์ (Description)
  • ข้อถือสิทธิ (Claim)
  • รูปเขียน (Drawing) (ถ้ามี)
  • บทสรุปการประดิษฐ์ (Abstract)

 

– ตัวอย่างร่างคำขอสิทธิบัตรการประดิษฐ์ / อนุสิทธิบัตร

 

– ส่งเอกสารผ่านทางระบบ Intellectual Property Registration System

คำแนะนำในการยื่นจดสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์

– สืบค้นความใหม่

– กรอกแบบฟอร์มแสดงความจำนงการขอรับความคุ้มครอง และจัดทำร่างคำขอ

  • ตัวอย่างบันทึกข้อความ กรณีสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์
  • แบบฟอร์มแสดงความจำนงการขอจดสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Invention Disclosure)
  • คำพรรณาแบบผลิตภัณฑ์
  • ข้อถือสิทธิ
  • รูปเขียน

 

– ตัวอย่างร่างคำขอจดสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์

 

– ส่งเอกสารผ่านทางระบบ Intellectual Property Registration System

คำแนะนาในการจดแจ้งลิขสิทธิ์

– กรอกเอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • แบบฟอร์มแสดงความจำนงการจดแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์
  • แนบผลงานประกอบ ตามประเภทของลิขสิทธิ์ ดังนี้
    1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์
      สิ่งที่ต้องส่ง : Source Code ของโปรแกรม กรณีมีมากกว่า 10 หน้าให้ตัดมาเพียง Source Code 5 หน้าแรก , Source Code 5 หน้าหลัง
    2. หนังสือ / สิ่งพิมพ์ / ebook / ตารา / คู่มือ
      สิ่งที่ต้องส่ง : ผลงานฉบับเต็ม (ไฟล์ PDF)
    3. ศิลปกรรม/ จิตรกรรม / ประติมากรรม / ภาพพิมพ์ / สถาปัตยกรรม
      สิ่งที่ต้องส่ง : ภาพผลงาน (ไฟล์ PDF)

 

– ส่งเอกสารผ่านทางระบบ Intellectual Property Registration System

การขออนุญาตใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา

คือ การที่เจ้าของเทคโนโลยีอนุญาตให้ผู้ขอรับอนุญาตใช้สิทธิในเทคโนโลยีตามขอบเขตและเงื่อนไขที่ตกลงกัน เช่น ผลิต ขาย ใช้ หรือมีไว้เพื่อขาย โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงความเป็นเจ้าของ

  • ผู้อนุญาตหรือเจ้าของเทคโนโลยีจะเรียกว่า Licensor
  • ผู้รับอนุญาตหรือผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจะเรียกว่า Licensee
  • การอนุญาตให้ใช้สิทธิแต่เพียงผู้เดียว (Exclusive Licensing)
  • อนุญาตให้ใช้สิทธิโดยไม่จำกัดจำนวนผู้รับอนุญาต (Non-Exclusive Licensing)
  • การอนุญาตให้ใช้สิทธิแต่เพียงผู้เดียวแต่ไม่จำกัดเจ้าของสิทธิ (Sole Licensing)
  • ขอบเขตของเทคโนโลยีที่อนุญาตให้ใช้สิทธิ (Scope of Technology)
  • ระยะเวลาของการใช้สิทธิในเทคโนโลยี (Period of Licensing)
  • บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้อนุญาตและผู้รับอนุญาต
  • เงื่อนไขการอนุญาตให้ใช้สิทธิในเทคโนโลยี
  • ค่าตอบแทนการใช้สิทธิเทคโนโลยี

เอกสารเผยแพร่


บุคลากร

คุณ จิราพร ขาวสวัสดิ์
ที่ปรึกษาอธิการบดี ด้านนวัตกรรมและธุรกิจ
คุณ จิราพร ขาวสวัสดิ์
ที่ปรึกษาอธิการบดี ด้านนวัตกรรมและธุรกิจ
นางสาว จุฑาภรณ์ ขำพระราม
นักวิชาการทรัพย์สินทางปัญญา