Search
Close this search box.
Search
Close this search box.
Assistant Professor Dr. Kanokwan Ruangsiri
ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ดร. กนกวรรณ เรืองศิริ

อาจารย์ประจำคณะ

ประวัติการศึกษา

  • ปีที่สำเร็จการศึกษา 2562 ปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • ปีที่สำเร็จการศึกษา 2556 ปริญญาโท สาขาไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • ปีที่สำเร็จการศึกษา 2551 ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

กลุ่มวิจัย
กลุ่มศึกษาและวิจัยเชิงประยุกต์ไมโครคอนโทรลเลอร์ สมองกลฝังตัว อิเล็กทรอนิกส์ และโทรคมนาคม

 

ประสบการทำงาน

  • อาจารย์พิเศษ หน่วยการศึกษา ภาคครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ม.ค. 2551 – มิ.ย. 2556
  • อาจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
    สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา พ.ค. 2557 – ปัจจุบัน

 

ประสบการณ์การสอน

  • อิเล็กทรอนิกส์กำลัง
  • วงจรและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
  • เทคโนโลยีเซนเซอร์และการประยุกต์ใช้งาน
  • การวิเคราะห์และออกแบบอิเล็กทรอนิกส์
  • เครื่องมือวัดไฟฟ้า
  • โปรแกรมสำเร็จรูปและการใช้งาน
  • การบริหารจัดการโครงการ
  • ระบบควบคุมป้อนกลับ
  • ศิลปะการนำเสนอ
  • เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม
  • การควบคุมและขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้า
  • นวัตกรรมและการออกแบบ

 

 

ผลงานวิชาการ

National Conference

  • กนกวรรณ เรืองศิริ, อติ พงษ์พาชำนาญเวช, พรชนก วานิช, ประธาน ชมเมืองปักและจักรวรรดิ ดียิ่ง, “การพัฒนาเครื่องวัดอุณหภูมิสำหรับการประกอบหัวอ่านฮาร์ดดิกส์ในเครื่องพาเลทอินไลน์ยูวีเคียว,” การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 11, จ.อุบลราชธานี.หน้า 271- 275,
  • สายัณห์ ฉายวาส ไชยพร หงส์ทอง, พงศธร ภู่จ้อย, ผดุงรัตน์ ปรองพิมาย และกนกวรรณ เรืองศิริ, “ระบบยืม-คืนเครื่องมือห้องปฏิบัติการสำหรับสถาบันการศึกษาผ่านระบบออนไลน์,”การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 41, , ระหว่างวันที่21 – 23 พ.ย.2562, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีร่วมกับมหาวิทยาลัยศรีปทุม, หน้า 298-301, จ.อุบลราชธานี.
  • เอกพันธุ์ พาเจริญ, กนกวรรณ เรืองศิริ, ศุภร แท่นแก้ว และสมศักดิ์ อรรคทิมากูล, “การสอนด้านวิศวกรรมโดยใช้การจำลองสถานการณ์แบบ RISDA สำหรับการศึกษาการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า,” การประชุมวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่10, ระหว่างวันที่ 26 – 29 มิถุนายน พ.ศ. 2561, หน้า. 498-501, จังหวัดพิษณุโลก.
  • กนกวรรณ เรืองศิริ, สายัณห์ ฉายวาส และ ปรีชา กอเจริญ, “ตู้อบฆ่าเชื้อโรคควบคุมผ่าน IoT สำหรับสถานที่สาธารณะและชุมชน,”การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 44 (EECON44) วันที่ 17-19 พฤศจิกายน 2564 ณ โรงแรม ดิ อิมเพรส น่านอำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน
  • กนกวรรณ เรืองศิริ, สายัณห์ ฉายวาส, เพชร นันทิวัฒนา และ ปรีชา กอเจริญ “การประเมินประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อโรคด้วยเครื่องผลิตก๊าซโอโซนแบบพกพาเชิงพาณิชย์ที่ใช้ภายในอาคาร,”การประชุมวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ครั้งที่ 14 (ECTI-CARD 2022), Lopburi Thailand

 

International Conference

  • Kanokwan Ruangsiri, Patinya Sakhwan, Surapan Tansriwong andSomsak Akatimagool, “The Development of Training Package using P-PIADA Learning Model; A Case Study on usage of GUI – MATLAB Program,” The 2nd International STEM Education Conference, (Istem-Ed2017), 2017.
  • Arkira Sonthitham, Kanokwan Ruangsiri and Chaiyapon Thongchaisuratkul, “Development and Efficiency Validation of Training Course on Smart Farm based on STEM Education : A Case Study of Abalone Mushroom .” International Conference on Power, Energy and Innovation (ICPEI 2019),October 16-18, 2019, Pattaya, THAILAND, Thailand.
  • Udomsak Kaewmorakot, Suporn Thaenkaew and Kanokwan Ruangsiri, “Development of Training Package on Machine Vision applying STEM Approach for Industrial Education .” International Conference on Power, Energy and Innovation (ICPEI 2019),October 16-18, 2019, Pattaya, THAILAND, Thailand.
  • Udomsak Kaewmorakot, Phadungrat Prongpimai and Kanokwan Ruangsiri, “Development and Efficiency Validation of Training Course on Machine Learning for Industrial Education.” International Conference on Power, Energy and Innovation (ICPEI 2019),October 16-18, 2019, Pattaya, THAILAND, Thailand.
  • Suporn Thaenkaew, Chira Sungkedkit and Kanokwan Ruangsiri, “Promotion of Advanced Practical Skills Using Disciplinary Integration Teaching and Learning Activity for Electrical Engineering Education .” The 7th International Conference on Technical Education.; 25-26 March 2020, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Thailand.
  • S. Thaenkaew, J. Achariyayos, V. Hutavadhana and K. Ruangsiri, “An Integrated Learning of Communication and Presentation for Industrial Work through Seminar for Special Project Preparation Using Phenomenon-Based Learning Approach,” 2021 6th International STEM Education Conference (iSTEM-Ed), 2021, pp. 1-4, doi: 10.1109/iSTEM-Ed52129.2021.9625120.
  • M. Srisomphot et al., “Development of Search and Inspection Set for Small Equipment and Tools in the HRS Pump Production Line: A Case Study of Lumentum International (Thailand) Co., Ltd,” 2021 6th International STEM Education Conference (iSTEM-Ed), 2021, pp. 1-4, doi: 10.1109/iSTEM-Ed52129.2021.9625122.
  • P. Prongphimai, S. Chaiwas and K. Ruangsiri, “Inspection System and 3-Phase Electric Energy Value Measurement by the Internet of Things for Industrial Education,” 2021 18th International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON), 2021, pp. 981-984, doi: 10.1109/ECTI-CON51831.2021.9454928.
  • S. Sikkabut, A. Bunseng, K. Ruangsiri, and N. Poonnoy, “Single Loop Non-linear Control for Three-phase Inverter,” 10th International Electrical Engineering Congress (iEECON), 2022,
  • K. Ruangsiri, P.Kocharoen, S.Chaiwas, S. Thaenkaew, P. Nantivatana, and S. Tansriwong “Efficiency Evaluation of Ozone Gas Concentration Generation by Commercial Ozone Generator for Disinfection in Residential Buildings,” 10th International Electrical Engineering Congress (iEECON), 2022,
  • Kanokwan Ruangsiri, Sayan Chaiwas and Preecha Kocharoen, Evaluation of the Efficiency of Ozone Disinfection Cabinet with Gas Decomposition System, The GMSARN Int. Conf. 2022, The Regent Cha Am Beach Resort, Phetchaburi, Thailand, 8-9 December 2022
  • Kanokwan Ruangsiri, Sayan Chaiwas and Preecha Kocharoen, Efficiency evaluation of ozone gas concentration generation by commercial ozone generator for disinfection in residential buildings, iEECON2022, 9-11 March 2022, Khon Kaen, Thailand

 

วารสารวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ
R. Kanokwan, T. Surapan and A. Somsak, “The development of training package using the P-PIADA training model: a case study on the usage of GUI – MATLAB program;” Asia-Pacific Journal of Science and Technology , vol 23, no. 3, july-september, 2018. (อยู่ในฐานข้อมูล Scopus, ACI, TCI group 1)

 

ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชา

  • Telecommunication and Transmission line
  • Internet of Things
  • Engineering Education

 

ผลงานวิจัย

  • หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนนการวิจัย “การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนเรื่องการใช้งาน วงจรเรโซแนนซ์ สำหรับการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรม พ.ศ. 2558 จากสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
  • หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนนการวิจัย การพัฒนาเครื่องวัดอุณหภูมิสำหรับเครื่องพาเลทอินไลน์เคียว” ร่วมกับบริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล (ประเทศไทย) จํากัด พ.ศ. 2561 จากสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
  • หัวหน้าโครงการ เรื่อง ตู้อบฆ่าเชื้อไวรัสระบบไฮบริดเพื่อประโยชน์ต่อการให้บริการสาธารณะและบุคลากรทางการแพทย์ควบคุมผ่านอินเตอร์เนตของสรรพสิ่งสำหรับโรงพยาบาล สถานพยาบาลและบริเวณพื้นที่ชุมชน พ.ศ. 2562 จากสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา งบประมาณ 300,000 บาท
  • หัวหน้าโครงการ เรื่อง นวัตกรรมตู้ล็อคเกอร์ปลอดเชื้อควบคุมผ่านสมาร์ทโฟนสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้อนุมัติทุนอุดหนุนการทำงานกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปี 2564 งบประมาณ 2,000,000 บาท
  • หัวหน้าโครงการ เรื่อง การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง ตู้อบฆ่าเชื้อไวรัสด้วยก๊าซโอโซนพร้อมระบบสลายก๊าซ พ.ศ. 2565 จากสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา งบประมาณ 160,000 บาท
    – หัวหน้าโครงการ เรื่อง การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การออกแบบเครื่องฆ่าเชื้อไวรัสด้วยเทคนิครังสี UV-C สำหรับกลุ่มบุคคลทั่วไป พ.ศ. 2566 จากสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา งบประมาณ 99,600 บาท

 

างวัล

  • รางวัลการวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปี 2564 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ชื่อผลงาน “ระบบบริการตู้อบฆ่าเชื้อไวรัสแบบไฮบริดควบคุมผ่านอินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่งสำหรับการให้บริการบริเวณสถานที่สาธารณะ”