Associate Professor

Dr. Preecha Korcharoen

Lecturer at the Faculty

ประวัติการศึกษา

  • ธ.ค. 2549 D.Eng (Telecommunication) Asian Institute of Technology (AIT), Thailand
  • ธ.ค. 2541 M.Sc. (Communication Engineering) University of Manchester Institute of
    Science and Technology (UMIST), Manchester, UK.
  • ก.พ. 2540 B.Eng. (Electrical) Sripatum University, Thailand

กลุ่มวิจัย

  • กลุ่มวิจัยด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและเกษตรนวัต
    Industrial Technology and Innovative Agriculture Research Group (ITIARG)
  • กลุ่มศึกษาและวิจัยเชิงประยุกต์ไมโครคอนโทรลเลอร์ อิเล็กทรอนิกส์ และโทรคมนาคม
    Study and Applied Research Group on Microcontroller, Electronic and Telecommunication (SARGMET)
  • https://www.facebook.com/SARGMET
    ประสบการณ์ทำงาน
  • อาจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
    สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
  • อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ประยุกต์
    คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
  • หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
    คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ประสบการณ์การเข้าร่วมอบรม

  • A Seminar on NGN Technology and Applications, Office of the National Telecommunications Commission, Bangkok, Thailand, 12 – 13 October 2009.
  • Technical Workshop on Radio frequency Fields: Biological Effects, Standards, Measurements and Evaluation, Office of the National Telecommunications Commission, Bangkok, Thailand, 16-20 March 2009
  • A Seminar on Business Strategy on System Thinking in the Wireless Revolution, Office of the National Telecommunications Commission, Bangkok, Thailand, 28-30 January 2009
  • Training Workshop on Numbering in a Converged Environment, Office of the National Telecommunications Commission, Bangkok, Thailand, 6-9 October 2008

ผลงานวิชาการ
Conference

  • Kanokwan Ruangsiri, Sayan Chaiwas and Preecha Kocharoen, Evaluation of the Efficiency of Ozone Disinfection Cabinet with Gas Decomposition System, The GMSARN Int. Conf. 2022, The Regent Cha Am Beach Resort, Phetchaburi, Thailand, 8-9 December 2022
    Kanokwan Ruangsiri, Sayan Chaiwas and Preecha Kocharoen, Efficiency evaluation of ozone gas concentration generation by commercial ozone generator for disinfection in residential buildings, iEECON2022, 9-11 March 2022, Khon Kaen, Thailand
  • กนกวรรณ เรืองศิริ สายัณห์ ฉายวาส และ ปรีชา กอเจริญ, ตู้อบฆ่าเชื้อโรคควบคุมผ่าน IoT สาหรับสถานที่สาธารณะและชุมชน, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 44 (EECON-44), โรงแรมดิอิมเพรส น่าน จังหวัดน่าน, 17 – 19 พฤศจิกายน2564
  • Kanokwan Ruangsiri, Sayan Chaiwas and Preecha Kocharoen, Development of Disciplinary Integrated Teaching Model on Sensor Technology and Applications for Industrial Education, iSTEM-Ed 2020, Amari Huahin, Prajuabkirikhan, Thailand, 4 – 6 Nov 2020.
  • โกศิน สวนานนท์ ปฎิญญา ศักดิ์หวาน จรูญวิทย์ ลีลาชัยเจริญภัณฑ์ สุทธิศิษฏ์ ชูมนตรีและปรีชา กอเจริญ, “ต้นแบบเตาเผาพลาสมาเพื่อการกำจัดขยะเข็มฉีดยาในโรงพยาบาล,” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 42 (EECON-42), โรงแรมเดอะกรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา, 30 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน2562, pp. 512 – 515.
  • ปรีชา กอเจริญ และคณะ, “ระบบจัดการลงทะเบียนและควบคุมห้องพักโฮสเทลจากการจองห้องพักออนไลน์หลายตัวแทน,” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่42 (EECON-42), โรงแรมเดอะกรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา, 30 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน 2562, pp. 601 – 604.
  • อัครเดช แย้มคลี่ จิรวัฒน์ พงษ์พานิช ธนภัทร หอมทรงทรัพย์ เพชร นันทิวัฒนา เติมพงษ์ ศรีเทศ และ ปรีชา กอเจริญ, “ระบบเฝ้าระวังความแรงสัญญาณการออกอากาศวิทยุกระจายเสียงต้นทุนต่ำ”, การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติมหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 13 ประจำปี 2561, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 20 ธันวาคม2561, pp.2452 – 2460.
  • เติมพงษ์ ศรีเทศ คทา จารุวงษ์รังสี เพชร นันทิวัฒนา ณรงค์ อยู่ถนอม และปรีชา กอเจริญ, “การประยุกต์ใช้การสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็นสาหรับพิพิธภัณฑ์อัจฉริยะ,” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 41 (EECON-41), โรงแรมสุนีย์ แกรนด์ โฮเทล แอนด์ คอนเวนชั่น เซนเซอร์ จังหวัดอุบลราชธานี, 21 – 23 พฤศจิกายน2561.
  • Aneeka Azmat, Chalie Charoenlarpnopparut, Prapun Suksompong and Preecha Kocharoen, “The Acceptance Level of Hybrid E-Tower Model based on Flipped Classrooms, Game Development based Learning, and Gamification for Engineering Education,” iSTEM-Ed 2018, KMUTT, Bangkok, Thailand, 11 – 13 July 2018.
  • Petch Nantivatana, Wanchana Kongyim, Peerapol Tasungnuen, Peerapat Nivorn, and Preecha Kocharoen, “Efficiency Estimation of On-Service Three-Phase Induction Motors Using Infrared Thermography,” International Workshop on Advanced Image Technology 2018, Chiang Mai, Thailand, 7 – 10 January 2018.
  • ปรีชา กอเจริญ ธารทอง จีนอนันต์ ธารทิพย์ จีนอนันต์ และ สมชาย ดำหมัด, “การพัฒนาชุดทดลองวิชาอิเล็กทรอนิกส์การสื่อสารด้วย NI ELVIS,” งานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 28 – 29 กันยายน 2560, จังหวัดนครปฐม, หน้า 1687 – 1695.
  • Preecha Kocharoen, Termpong Srited and Petch Nantivatana, “Using Plickers for Immediate Formative Assessment: Sharing Good Practice,” The 2nd International STEM Education Conference, 12 – 14 July 2017, Chiang Mai, Thailand, pp.57 – 60.
  • ศศิธร กอเจริญ ธรินี มณีศรี เติมพงษ์ ศรีเทศ เพชร นันทิวัฒนา และปรีชา กอเจริญ, “เทคนิคการระบุตำแหน่งภายในคลังสินค้าด้วยแสงที่มองเห็น เพื่อการประจุพลังงานไร้สายแก่รถฟอร์คลิฟท์พลังงานไฟฟ้า”, การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 11 ประจำปี 2559, วันที่ 21 ธันวาคม 2559, มหาวิทยาลัยศรีปทุม
  • เพชร นันทิวัฒนา นริศ เสริมปรุงสุข และปรีชา กอเจริญ, “การสื่อสารโปรโตคอลมอดบัสผ่านแสงที่มองเห็นได้,” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 39 (EECON-39), โรงแรมพูลแมนเดอะรีเจ้นท์ ชะอำบีช รีสอร์ท, 2 – 4 พฤศจิกายน2559.
  • Petch Nantivatana, Kata Jaruwongrungsee, Termpong Srited, Piya Kovintavewat, and Preecha Kocharoen, “Visible Light Communication Development Kits Complianted to CP1223 Standard,” The 31st International Technical Conference on Circuits/Systems, Computers and Communications (ITC-CSCC2016), 10 – 13 July 2016, Okinawa Pref. Municipal Center, Okinawa, Japan, pp.69 – 72.
  • Preecha Kocharoen, “Visible Light Communication: Importance and Thai Preparations,” The 2016 International Electrical Engineering Congress, iEECON2016, 2-4 March 2016, Chiang Mai, Thailand, pp. 51 – 54.
    Termpong Srited Kata Jaruwongrungsee and Preecha Kocharoen, “Wireless Sensor Network for Flash-flood Warning : Nampung-forested Watershed ,” The 30th International Technical Conference on Circuits/Systems, Computers and Communications (ITC-CSCC2015), 29 June – 2 July 2015, Grand Hilton, Seoul, Korea, pp.151 – 155.
  • Preecha Kocharoen Sarinya Nuanloy and Petch Nantivatana , “Designing Wireless Sensor Network for Detecting Chainsaw Noise in a Forested Watershed ,” The 30th International Technical Conference on Circuits/Systems, Computers and Communications (ITC-CSCC2015), 29 June – 2 July 2015, Grand Hilton, Seoul, Korea, pp.198 – 201.
  • วีรภัทร อริยะเศรณี กฤษดา ศรลัมพ์ ไกรสีหนาท โหมาศวิน เติมพงษ์ ศรีเทศ และปรีชา กอเจริญ, “การส่งสัญญาณเสียงผ่านการสื่อสารทางแสงที่มองเห็นได้แบบไร้สาย,” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 37 (EECON-37) , 19 – 21 พฤศจิกายน 2557, โรงแรงพูลแมน ขอนแก่นราชาออคิด, จังหวัดขอนแก่น, pp.1041 – 1044.
  • อนุวัตร กุดแถลง โศภิษฐ์ กางกั้น ยุทธนากรวยเกรียงไกร เพชร นันทิวัฒนา และปรีชากอเจริญ, “การทดสอบการส่งพลังงานแบบไร้สายอย่างง่าย,” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 37 (EECON-37) , 19 – 21 พฤศจิกายน 2557, โรงแรงพูลแมน ขอนแก่นราชาออคิด, จังหวัดขอนแก่น, pp.1073 – 1076.
  • Surachai Intachuen Petch Nantivatana and Preecha Kocharoen, “Indoor Location Estimation using Gold Sequences Modulation of Light Emitting Diodes,” The 29th International Technical Conference on Circuits/Systems, Computers and Communications (ITC-CSCC2014), 1 – 4 July 2014, Phuket Graceland Resort and Spa, Phuket, pp.889 – 893.
  • เพชร นันทิวัฒนา กีรติ สายพัทลุง สุรศักดิ์ เพชรอยู่ และปรีชา กอเจริญ, “การประยุกต์ใช้ RFID ในการเก็บข้อมูลเพื่อประมวลผลสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ,” การประชุมวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 5 (ECTI-CARD 2013), 8 – 10 พฤษภาคม 2556, ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา, pp. 35 – 40.
  • ปรีชา กอเจริญ เอกชัย ดีศิริ รพี จันทขันธ์ เบ็ญจมาภรณ์ โภคะ และพศวีร์ ใจซื่อ, “การออกแบบและพัฒนาระบบการบริหารจัดการกิจการห้องเช่าขนาดเล็ก,” การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2556 สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (APHEIT2013), ณ อาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้สิรินธรมหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่, 31 พฤษภาคม 2556, pp. 1245 – 1252.
  • ปรีชา กอเจริญ และนรบุณย์ อยู่ถนอม, “การออกแบบและสร้างอุปกรณ์ตรวจสอบไฟฟ้ารั่วไหลในน้ำ,” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 35, 12 – 14 ธันวาคม 2555, ณ รอยัลฮิลล์ กอล์ฟรีสอร์ท แอนด์สปา จังหวัดนครนายก
  • ภาคภูมิ ภู่สอาด ภาณุวัฒน์ ศรีเมือง จรัส สถาพรนุวงศ์ สัญญา คูณขาว และปรีชากอเจริญ, “การทดสอบอุปกรณ์ตรวจสอบกระแสไฟฟ้ารั่วไหลสำหรับสถานการณ์น้ำท่วม,” การประชุมวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 4 (ECTI-CARD 2012), 20 – 22 มิถุนายน 2555, ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, pp. 320 – 323.
  • ธนกฤต พลูน้อย และปรีชา กอเจริญ, “การศึกษาหาตำแหน่งที่เหมาะสมของการก่อสร้างโรงงานผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลโคนมโดยใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์,” การประชุมวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 4 (ECTI-CARD 2012), 20 – 22 มิถุนายน 2555, ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, pp. 50 – 55.
  • Akekachai Deesiri, Thammaphisit JiamJan, Apichai Chaiprates, Puckdee Ngamsutthi and Preecha Kocharoen, “Vigilance Safety Device for Diesel Electric Locomotive of SRT : A Co-operative Education With Undergraduate Research Project”, The International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology (ICESIT2012), 27 – 29 January 2012, Nara, Japan.
  • Termpong Srited, Petch Nantivatana and Preecha Kocharoen, “The Robot Competition: Project-Based Learning in Undergraduate Microcontroller Courses”, The International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology (ICESIT2012), 27 – 29 January 2012, Nara, Japan.
  • ปรีชา กอเจริญ, “การเปรียบเทียบประสิทธิภาพเทคโนโลยีสำหรับการเชื่อมต่อการศึกษาสู่ชนบทที่ห่างไกล”, การสัมมนาวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ประจำปี 2554 (APHEIT2011), 19 กรกฏาคม 2554, สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์, กรุงเทพมหานคร
  • Suchart Mitmart, Chatchai Naake, Surachai Intarachuen, Petch Nantivatana and Preecha Kocharoen, “Application of Piezo-Electric Film Sensor in Vehicle-Stealed Warning System”, The International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology (ICESIT2011), 9 – 11 Feburary 2011, Phuket, pp. 182 – 185.
  • เติมพงษ์ ศรีเทศ ศศิธร กอเจริญ วรพงษ์ ไพรินทร์ เพชร นันทิวัฒนา และปรีชา กอเจริญ, “วิวัฒนาการของเทคโนโลยีไดโอดเปล่งแสงและการประยุกต์ใช้กับโคมไฟส่องทางพลังงานแสงอาทิตย์”, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 33, 1 – 3 ธันวาคม 2553, โรงแรมเซ็นทารา ดวงตะวัน จ.เชียงใหม่, pp.337 – 340.
  • กีรดิษ สายพัทลุง อิทธิพัทธ์ ลาวัง เพชร นันทิวัฒนา และปรีชา กอเจริญ, “การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบระบุตำแหน่งวัตถุภายในอาคารในระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายด้วยวิธีการปรับระดับความแรงของกำลังส่ง”, ECTI-CARD 2010, Jomtien Plam Beach Hotel, Pattaya, Thailand, 10 – 12 May 2010, pp.169 – 174.
  • อิทธิพัทธ์ ลาวัง กีรดิษ สายพัทลุง เพชร นันทิวัฒนา และปรีชา กอเจริญ, “การประยุกต์ใช้โครงข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายในการติดตามเด็กพลัดหลง”, ECTI-CARD 2010, Jomtien Plam Beach Hotel, Pattaya, Thailand, 10 – 12 May 2010, pp.444 – 449.
  • กีรดิษ สายพัทลุง อิทธิพัทธ์ ลาวัง เพชร นันทิวัฒนา บุญญฤทธิ์ ลักษณประณัย และปรีชา กอเจริญ, “Cause of Deviation Due to the Node Height in Node Distance Discovering and Object Locating by RSSI Location Estimation on Wireless Sensor Network”, The International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology (ICESIT2010), 5 – 7 Feburary 2010, Chiangmai.
  • อิทธิพัทธ์ ลาวัง กีรดิษ สายพัทลุง เพชร นันทิวัฒนา บุญญฤทธิ์ ลักษณประณัย และปรีชา กอเจริญ, “Using Wi-Fi Network Planning Software Tool for Designing The Coverage Area of Wireless Sensor Network”, The International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology (ICESIT2010), 5 – 7 Feburary 2010, Chiangmai.
  • ปรีชา กอเจริญ เติมพงษ์ ศรีเทศ และ เพชร นันทิวัฒนา, “ระบบตรวจวัดพร้อมแจ้งเตือนอุณหภูมิและความชื้นในกองข้าวเปลือกแบบไร้สาย”, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 32 28 – 30 ตุลาคม 2552 ปราจีนบุรี pp.1195 – 1198.
  • ปรีชา กอเจริญ เติมพงษ์ ศรีเทศ และ เพชร นันทิวัฒนา, “ต้นแบบระบบการวัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์อากาศในกองข้าวเปลือกแบบไร้สาย”, ECTI-CARD2009, โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต, May 4-6, 2009,pp.13-24.
  • P. Kocharoen, P. Nantivatana and T. Srited, “The Current Consumption Profile of XBEE/XBEE Pro Module” The International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology (ICESIT2009), Pattaya, Thailand, 11-13 February 2009, pp43-46.
  • P. Kocharoen, “Comparison of Motion Estimation Methods for Mesh-Based Image Sequences”, The 31st Electrical Engineering Conference (EECON-31), Nakornnayok, Thailand, 29-31 October 2008, pp. 1169-1172.
  • P. Nantivatana, S. Petchyoo and P. Kocharoen., “Image Alignment using Discrete Wavelet Transform and Thin Plate Spline”, The 31st Electrical Engineering Conference (EECON-31), Nakornnayok, Thailand, 29-31 October 2008, pp.1161-1164
  • P. Kocharoen, T. Srited, P. Nantivatana, S. Kocharoen, and K. M. Ahmed, “Very Low Bit-rate Mesh-Based Image Coding”, The 29th Electrical Engineering Conference (EECON-29), Pattaya, Thailand, 9-10 November 2006, pp.937-940.
  • P. Kocharoen, K.M. Ahmed, R.M.A.P. Rajatheva and W.A.C. Fernando, “Intensity Feature Filtering With Node Elimination Approach For Low Bit-Rate Mesh-Based Image Coding”, IASTED International Conference on Networks and Communication Systems, NCS2005, 18-20 April 2005, Krabi, Thailand, pp. 161-166.
  • P. Kocharoen, K.M. Ahmed, R.M.A.P. Rajatheva and W.A.C. Fernando, “Adaptive Mesh Generation For Mesh-Based Image Coding Using Node Elimination Approach”, IEEE International Conference on Communications, ICC05, 16-20 May 2005, Seoul, Korea, pp. 2052-2056.
  • P. Kocharoen and K.M. Ahmed, “Very Low Bit-Rate Video Coding”, IEEE Region 10 Technical Conference TENCON 2004, ChiangMai, Thailand, 21-24 November 2004, pp. 610-613.
  • P. Kocharoen and Fernando W.A.C., “Image Ringing Artifact Suppression in JPEG2000 using a Post-Processing Algorithm”, The 3rd International Symposium on Communications and Information Technologies (ICSIT 2003), Songkhla, Thailand, 3-5 September 2003.
  • K.C. Nirendra, W.A.C. Fernando and P. Kocharoen, “An Adaptive Algorithm for Ringing Artifacts Reduction in JPEG-2000”, The 3rd International Symposium on Communications and Information Technologies (ICSIT 2003), Songkhla, Thailand, 3-5 September 2003.
  • P. Kocharoen and T. Srited, “Merit Factors Of Complex Polyphase Sequences Based On A Real Measure Of Aperiodic Autocorrelation”, The 24th Electrical Engineering Conference(EECON-24), Bangkok, Thailand, 22-23 November 2001, pp.722-727.

Journal

  • Keerati Chayakulkheeree, Vichakorn Hengsritawat, Petch Nantivatana, and Preecha Kocharoen, “Non-Invasive Equivalent Circuit Method for Three-Phase Induction Motor Efficiency Estimation Using Particle Swarm Optimization,” The International Energy Journal (IEJ), Vol. 20(2), June 2020, pp.209 – 224.
  • Preecha Kocharoen, Petch Nantivatana, Kata Jaruwongrungsee, Termpong Srited, Wannaree Wongtrairat and Piya Kovintavewat, “Visible Light Communication: An Innovative and Challenging Technology”, ECTI E-magazine Vol.10, No.3, Jul-Sept 2016
  • ปรีชา กอเจริญ และคณะ, “เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายสำหรับอินเตอร์เนตของสรรพสิ่ง,” วารสาร กสทช. ประจำปี 2560, pp. 270 – 287.
  • ปรีชา กอเจริญ และคณะ, “การสื่อสารไร้สายระยะใกล้ด้วยแสงที่มองเห็น : เทคโนโลยี การพัฒนา และการขับเคลื่อน,” วารสาร กสทช. ประจำปี 2559, pp. 529 – 548.
  • Preecha Kocharoen and Sirinthorn Sinjindawong, “Gradually Adopted Flipped Classroom Teaching Technique to a Traditional Lecture-Based Teaching in an Electrical Engineering Course,” IEET – International Electrical Engineering Transactions, VOL. 1, NO.1 (1) JULY-DEC 2015, pp. 41 – 46.
  • ปรีชา กอเจริญ, “นวัตกรรมทางการสอนเพื่อส่งเสริมผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชาชีพทางวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารด้วยกิจกรรมการดึงดูดความสนใจร่วมกับการใช้ระบบอีเลิร์นนิ่ง,” วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย, ปีที่20 ฉบับที่ 2 ธันวาคม 2557, pp. 124 – 135.
  • ปรีชา กอเจริญ และเกียรติศักดิ์ ศรีพิมานวัฒน์, “มาตรฐานการสื่อสารไร้สายระยะใกล้ด้วยแสงที่มองเห็นได้ : การส่องสว่างข้อมูล,” วารสาร กสทช. ประจำปี 2557, pp. 47 – 60.
  • ปรีชา กอเจริญ เติมพงษ์ ศรีเทศ และเพชร นันทิวัฒนา, “การเรียนรู้ในรายวิชาไมโครคอนโทรลเลอร์ระดับอุดมศึกษาด้วยการทำโครงงานร่วมกันเป็นทีมเพื่อการแข่งขัน,” วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย, ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 พฤษภาคม 2555, pp. 170 – 178.
  • ปรีชา กอเจริญ, “การวัดประสิทธิภาพเทคโนโลยีที่มีศักยภาพต่อการปฏิวัติบรอดแบนด์ไร้สายในประเทศไทย” วารสารศรีปทุมปริทัศน์ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ปีที่ 3 มกราคม – ธันวาคม 2554, pp. 28 – 40.
  • P. Kocharoen, K. M. Ahmed, R.M.A.P. Rajatheva and W.A.C. Fernando, “Mesh-Based Video Coding for Low Bit-rate Communications”, IEEE Trans. on Consumer Electronics, vol. 52, no. 2, May 2006, pp.611-620.
  • P. Kocharoen, K.M. Ahmed, R.M.A.P. Rajatheva and W.A.C. Fernando, “Node Elimination Approach For Low Bit-Rate Content-Adaptive Mesh-based Image Coding”, ECTI-EEC Journal, vol.3, no.2, August 2005, pp.156-163.
    Book
  • ปรีชา กอเจริญ (2557). หลักการสื่อสารและโทรคมนาคม. พิมพ์ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยศรีปทุม. กรุงเทพฯ. 278 หน้า.

การเป็นวิทยากรบรรยาย หรืออภิปราย

  • การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “การประยุกต์ใช้ STEM Education ในการเรียนการสอน” วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี, 6 ตุลาคม 2560.
  • การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “การสอนด้วยเทคนิคห้องเรียนกลับทาง (Flipped Classroom)” มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิงพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร, 3 กรกฎาคม 2560.
  • การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “การใช้ Plickers กับการประเมินผลการเรียนรู้ทันทีในห้องเรียนกลับทางและเรียนให้รู้จริง” 2016 SPU-Teaching and Learning Forum: Experience of Learning, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 7 มิถุนายน 2560.
  • การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “ห้องเรียนกลับด้าน Flipped Classroom” มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 31 มีนาคม 2560.
  • การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “Flipped Classroom for STEM Education” มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 10 มีนาคม 2560.
  • การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “Active Learning for 21st Century: Tools and Inplementation”, สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์, 8 ธันวาคม 2559.
  • การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “เทคนิคการสอนแบบห้องเรียนกลับทาง (Flipped Classroom)”, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ, 2 ธันวาคม 2559.
  • การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “หลักการและเทคนิคการสอนแบบ Flipped Classroom”, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 10 สิงหาคม 2559.
  • การอบรมวิชาการทางด้านโทรคมนาคม หัวข้อ “การสื่อสารไร้สายผ่านแสงที่มองเห็น : การพัฒนาบุคลากร และการแนะนำชุดพัฒนาตามมาตรฐานสากลเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี”, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2 สิงหาคม 2559.
  • การประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสถาปัตยกรรมศาสตร์ ครั้งที่ 7 ประจำปี 2559 หัวข้อ “การสอนด้วยเทคนิคห้องเรียนกลับทาง”, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน, 26 กรกฎาคม 2559.
  • การอบรมเชิงปฏิบัติการในการประชุมวิทยาการนานาชาติ iSTEM-Ed 2016 หัวข้อ“Flipped Classroom Startup Workshop”, iSTEM-Ed 2016 พัทยา , 6 กรกฎาคม 2559
  • วิทยากรกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง ครูเพื่อศิษย์ ห้องเรียนกลับด้าน#FlippedClassroom, อาคาร 11 มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 1 กรกฎาคม 2559.
  • การอบรมวิชาการทางด้านโทรคมนาคม หัวข้อ “การสื่อสารไร้สายผ่านแสงที่มองเห็น : การพัฒนาบุคลากร และการแนะนำชุดพัฒนาตามมาตรฐานสากลเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี”, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่, 25 เมษายน 59.
  • การอบรมวิชาการทางด้านโทรคมนาคม หัวข้อ “การสื่อสารไร้สายผ่านแสงที่มองเห็น : การพัฒนาบุคลากร และการแนะนำชุดพัฒนาตามมาตรฐานสากลเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี”, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 1 เมษายน 2559.
  • การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม หัวข้อ “เครือข่ายเซนเซอร์ไร้สายเพื่อการเฝ้าระวังน้ำป่าไหลหลากและดินถล่มสำหรับหมู่บ้านเสี่ยงภัยพื้นที่ลุ่มน้ำ”, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 1 เมษายน 2559.
  • การอบรมวิชาการทางด้านโทรคมนาคม หัวข้อ “การสื่อสารไร้สายผ่านแสงที่มองเห็น : การพัฒนาบุคลากร และการแนะนำชุดพัฒนาตามมาตรฐานสากลเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี”, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย สงขลา, 16 มีนาคม2559.
  • การอบรมวิชาการทางด้านโทรคมนาคม หัวข้อ “การสื่อสารไร้สายผ่านแสงที่มองเห็น : การพัฒนาบุคลากร และการแนะนำชุดพัฒนาตามมาตรฐานสากลเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี”, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 2 มีนาคม 2559.
  • การอบรมเชิงปฏิบัติการ Train the trainer หัวข้อ “การพัฒนาชุดรับส่งข้อมูลผ่านระบบการสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็นและการประยุกต์ใช้งาน”, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 28 – 29 มกราคม 2559
  • การอบรมวิชาการทางด้านโทรคมนาคม หัวข้อ “การสื่อสารไร้สายผ่านแสงที่มองเห็น : การพัฒนาบุคลากร และการแนะนำชุดพัฒนาตามมาตรฐานสากลเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี”, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 25 พฤศจิกายน 2558
  • การเสวนาทางวิชาการเรื่อง “การสื่อสารทางแสงผ่านหลอด LED และการประยุกต์ใช้งานด้านการแพทย์” การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 7 (7th RMUTNC) ณ อาคาร 35 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 3 กันยายน 2558
  • การบรรยายเสริมรายวิชา HUM311 หัวข้อ ลักษณะงานและความก้าวหน้าในงานด้านโทรคมนาคม, ณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, กรกฎาคม พ.ศ. 2554
  • การสัมมนา สถานการ Wireless Broadband ของประเทศไทย ในยุค 3G ณมหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2 มิถุนายน 2553
  • การบรรยายเรื่อง นวัตกรรมนักศึกษากับโอกาสเชิงพาณิชย์ ณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 5 มีนาคม 2553
  • การบรรยายเรื่อง เครื่องมือสื่อสารในสังคมยุคใหม่และการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ ในโครงการไฟฟ้าสัญจร ณ วิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช และโรงเรียนสตรีปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช, 27 พฤศจิกายน 2552
  • การสัมมนา อนาคตของ Broadband ในยุคของ WiMAX และ 3G 29 กรกฎาคม 2552
    ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชา
    – Image and Video Processing
    – Visible Light Communications
    – Wireless Sensor Network and Internet of Things
    – Agritronic
    – Data communication
    – Coding and Modulation

ประวัติการทำงานอื่น ๆ

  • กรรมการดำเนินงานด้านสถานที่, TESA TopGun Rally 2022, สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
  • กรรมการดำเนินงานโครงงาน U2T ตำบลกุดจอก สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา, พ.ศ. 2564 – 2565
  • อนุกรรมการ EdPEx ของสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา, พ.ศ. 2564
  • Technical Program Chair ของการประชุมวิชาการนานาชาติ International STEM Education Conference: iSTEM-Ed 2021
  • Tutorial Chair ของการประชุมวิชาการนานาชาติ International STEM Education Conference: iSTEM-Ed 2017
  • อนุกรรมการวิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) พ.ศ. 2563 – ปัจจุบัน
  • ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานพัฒนาการสอน และวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ, 2016 SPU-Teaching and Learning Forum: Experience of Learning, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 7 มิถุนายน 2560
  • ผู้ช่วยโค้ช โครงการ The Teacher Project#2 มิถุนายน 2559 – มิถุนายน 2560
  • บรรณาธิการผู้ทรงคุณวุฒิประจำกองบรรณาธิการ วารสาร มทร.อีสาน กุมภาพันธ์2560 – ปัจจุบัน
  • กรรมการบริหาร ชมรมไฟฟ้าสื่อสาร สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์สาขาประเทศไทย (IEEE Communications Society Thailand Chapter), กรกฎาคม 2555 – 2558
  • หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. 2552 – 2553
  • ผู้เชี่ยวชาญด้านโทรคมนาคม ในการระดมความเห็นโครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมอุปกรณ์สื่อสารอัจฉริยะ (Intelligent Communication Devices : ICD) จัดโดยสมาคมสมองกลฝังตัวแห่งประเทศไทย (TESA), มิ.ย. 2554
  • คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาซื้อ ชุดสถานีตรวจสอบการใช้ความถี่วิทยุระบบควบคุมระยะไกล (เขตพื้นที่ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ) สำนักตรวจสอบการใช้ความถี่วิทยุ สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ, พ.ย. 2553
  • Technical Program Committee การประชุมวิชาการนานาชาติ The International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology (ICESIT2010) จัดโดยสมาคมสมองกลฝังตัวแห่งประเทศไทย (TESA), Prince of Songkla University (Phuket Campus), Phuket , Thailand ระหว่างวันที่ 9 – 11 February 2011
  • คณะทำงานเทคนิค อภิธานศัพท์โทรคมนาคมไทย (Thai Telecommunication Glossary 2010), National Electronics and Computer Technology Center (NECTEC).
  • Technical Program Committee การประชุมวิชาการนานาชาติ The International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology (ICESIT2010) จัดโดยสมาคมสมองกลฝังตัวแห่งประเทศไทย (TESA), Imperial Mae Ping Hotel, Chiang Mai, Thailand ระหว่างวันที่ 5 – 7 February 2010
  • คณะกรรมการจัดซื้อระบบเครื่องทดสอบอุปกรณ์วิทยุคมนาคม จำนวน 2 ระบบ โดยวิธีพิเศษ สำนักวิศวกรรมและเทคโนโลยีโทรคมนาคม สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ, กพ. 2552
  • Publication Chair การประชุมวิชาการนานาชาติ The International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology (ICESIT2009) จัดโดยสมาคมสมองกลฝังตัวแห่งประเทศไทย (TESA) โรงแรมจอมเทียนปาล์มบีช หาดจอมเทียน จ.ชลบุรี ระหว่างวันที่ 11-13 February 2009
  • คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาจัดซื้อ ชุดสถานีตรวจสอบการใช้ความถี่วิทยุระบบควบคุมระยะไกล (เขตพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้) สำนักตรวจสอบการใช้ความถี่วิทยุ สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ, พย. 2551
  • Registration Chair งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 2008 International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology (ICESIT 2008) จัดโดยสมาคมสมองกลฝังตัวแห่งประเทศไทย (TESA) ระหว่างวันที่ 27-28 February 2008
  • ผู้เชี่ยวชาญด้าน ICT ในโครงการ Electronics Value Creation จัดโดยสถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นโครงการระหว่างปี 2550-2551

ผลงานวิจัย

  • ผู้ร่วมโครงการ “ตู้อบฆ่าเชื้อไวรัสด้วยก๊าซโอนโซนพร้อมระบบสลายก๊าซ” พ.ศ. 2565 ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
  • ผู้ร่วมโครงการ “ระบบตรวจวัดสมรรถนะและประเมินประสิทธิภาพของมอเตอร์เหนี่ยวนำแบบไร้สายด้วยเทคนิคปัญญาประดิษฐ์ผ่านระบบ Internet of Things (IoTs) สำหรับการบริหารและจัดการพลังงาน” พ.ศ. 2564 จาก สำนักงานบริหารกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
  • หัวหน้าโครงการ “การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าและระบบการประจุแบตเตอรี่ด้วยโซล่าเซลล์เพื่อเพิ่มระยะเวลาการใช้งานสำหรับพื้นที่เกษตรนวัต” พ.ศ. 2564 ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
  • ผู้ร่วมโครงการ ทุนอุดหนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก “นวัตกรรมตู้ล็อคเกอร์ปลอดเชื้อควบคุมผ่านสมาร์ทโฟน” พ.ศ. 2564 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
  • ผู้ร่วมโครงการ “ตู้อบฆ่าเชื้อไวรัสระบบไฮบริดเพื่อประโยชน์ต่อการให้บริการสาธารณะและบุคลากรทางการแพทย์ควบคุมผ่านอินเตอร์เนตของสรรพสิ่งสำหรับโรงพยาบาล สถานพยาบาทและบริเวณพื้นที่ชุมชน พ.ศ. 2563 จากทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
  • หัวหน้าโครงการ “การพัฒนาเครื่องผลิตดินจากเศษอาหารและวัสดุอินทรีย์” พ.ศ. 2562 จากทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
  • ผู้ร่วมโครงการ “การพัฒนาเครื่องตรวจวัดประสิทธิภาพมอเตอร์เหนี่ยวนำแบบสามเฟสโดยไม่รบกวนการทำงานแบบพกพา” พ.ศ. 2561 จาก สกว. (โครงการร่วมสนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนา กฟผ. – สกว.)
  • หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก “ระบบสื่อสารจากไฟส่องวัตถุในพื้นที่จัดแสดงสำหรับพิพิธภัณฑ์อัจฉริยะ” พ.ศ. 2559 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
  • ผู้ร่วมโครงการ “โครงการพัฒนาความพร้อมระดับประเทศของการสื่อสารด้วยแสงสว่าง: การถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากรด้านกิจการโทรคมนาคม การจัดทำร่างมาตรฐาน และสื่อ” พ.ศ. 2558 จากกองทุนวิจัยและพัฒนา กิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์สาธารณะ (กทปส)
  • หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก “การศึกษาด้านเทคนิคมาตรฐานการสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็นได้” พ.ศ. 2558 จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • ผู้ร่วมโครงการ ชุดโครงการ “มหาวิทยาลัยช่วยเหลือสังคมทีประสบอุทกภัย” จากสำนักงานส่งเสริมเพื่อสุขภาพ (สสส.) พ.ศ. 2555 โครงการการจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติ ในเขตพื้นที่ชุมชนบางบัว และพื้นที่ใกล้เคียงแบบบูรณาการและยังยืน
  • ผู้ร่วมโครงการ ชุดโครงการ “มหาวิทยาลัยช่วยเหลือสังคมทีประสบอุทกภัย” จากสำนักงานส่งเสริมเพื่อสุขภาพ (สสส.) พ.ศ. 2555 โครงการเพิ่มขีดความสามารถในการเฝ้าระวังและจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นฐานในพื้นที่ต้นน้ำป่าสัก
  • หัวหน้าโครงการ ทุนอุดหนุนงานวิจัยสำหรับบุคคลากรภายในมหาวิทยาลัยศรีปทุมประจำปีการศึกษา 2552 เรื่อง การศึกษาผลของการปฏิวัติระบบการสื่อสารไร้สายต่อระบบโทรคมนาคมในประเทศไทย
  • หัวหน้าโครงการ โครงการวิจัยและพัฒนาภาครัฐร่วมเอกชนในเชิงพาณิชย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550 ครั้งที่ 2 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่องระบบตรวจวัดพร้องแจ้งเตือนอุณหภูมิและความชื้นในกองข้าวเปลือกแบบไร้สายเอกชนที่เข้าร่วมโครงการคือ บริษัทเกษตรถาวร จำกัด
  • ผู้ร่วมโครงการ โครงการสนับสนุนงานวิจัยจากสำนักงานส่งเสริมเพื่อสุขภาพ(สสส.) พ.ศ. 2551 เรื่องสวนจักรยานออกกำลังกายเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าสำหรับชุมชน
  • หัวหน้าโครงการ ทุนวิจัยภายในมหาวิทยาลัยศรีปทุม ประจำปีการศึกษา 2550 เรื่อง การประมาณการเคลื่อนที่สำหรับภาพเคลื่อนไหวชนิดการสร้างภาพจากเมช
    รางวัลและความภาคภูมิใจที่ได้รับ
  • รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปี 2564 รางวัลประกาศเกียรติคุณ ผลงานเรื่อง “ระบบบริการตู้อบฆ่าเชื้อไวรัสแบบไฮบริดควบคุมผ่านอินเตอร์เนตของสรรพสิ่งสาหรับการให้บริการบริเวณสถานที่สาธารณะ”
  • Thailand Energy Awards 2020 ด้านพลังงานสร้างสรรค์ รางวัลดีเด่น ผลงานเรื่อง“ชุดตรวจวัดประสิทธิภาพมอเตอร์เหนี่ยวนำแบบ 3 เฟสด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์แบบพกพา”
  • รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปี 2563 รางวัลประกาศเกียรติคุณ ผลงานเรื่อง “เครื่องตรวจประเมินประสิทธิภาพมอเตอร์เหนี่ยวนำแบบสามเฟสโดยไม่รบกวนการทำงานแบบพกพา”
  • อาจารย์ที่ปรึกษา รางวัลชนะเลิศ ระดับอุดมศึกษา กลุ่มการท่องเที่ยว พร้อมเงินรางวัล 70,000 บาท “Thailand New Gen Inventors Award 2020” (I-New Gen Award 2020) จากผลงาน “ระบบแสงเล่าเรื่องสำหรับงานนิทรรศการ” (Story-Telling using Visible Light System for Exhibition) จัดโดย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ(วช.)
  • รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปี 2562 รางวัลประกาศเกียรติคุณ ผลงานเรื่อง “แพลตฟอร์มพัฒนาระบบสื่อสารผ่านแสงที่มองเห็นแบบโอเพ่นซอร์ส สาธิตผ่านระบบพิพิธภัณฑ์อัจฉริยะ”
  • รางวัลอาจารย์ดีเด่นด้านการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. 2560 ประเภทอาจารย์อาวุโสดีเด่น สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรกฎาคม 2560
  • รางวัลผลงานพัฒนาการสอนดีเยี่ยม เรื่อง “การใช้ Plickers กับการประเมินผลการเรียนรู้ทันทีในห้องเรียนกลับทางและเรียนให้รู้จริง” ใน 2016 SPU-Teaching and Learning Forum: Experience of Learning, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 7 มิถุนายน2560.
  • รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปี 2559 รางวัลระดับดี ผลงานเรื่อง “เครือข่ายเซนเซอร์ไร้สายเพื่อการเฝ้าระวังน้ำป่าไหลหลากและดินถล่มสำหรับหมู่บ้านเสี่ยงภัยพื้นที่ลุ่มน้ำ”
  • สมาชิกสมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (IEEE) ระดับอาวุโส (IEEE Senior member) พ.ศ. 2559
  • ผู้นำเสนอบทความการประชุมกลุ่มย่อยในนามประเทศไทย ในการประชุมทางวิชาการระดับภูมิภาคของ ASAIHL 2015 ณ ประเทศกัมพูชา 1 – 4 ธันวาคม 2558
  • รางวัลบุคคลากรดีเด่นด้านวิชาการ ของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ประจำปี 2555 กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • รางวัลบทความดีเด่น จากผลงานเรื่อง “ต้นแบบระบบการวัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์อากาศในกองข้าวเปลือกแบบไร้สาย” ในงานประชุมวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ์ โดยใช้คอมพิวเตอร์ ระบบฝังตัว หรือระบบสารสนเทศ ครั้งที่ 1 (ECTI-CARD 2009), โรงแรมอมารี ดอนเมืองแอร์พอร์ต, 4-5 พฤษภาคม 2552.
  • รางวัลบุคคลากรดีเด่นของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ประจำปี 2552 ประเภทนักวิจัยรุ่นใหม่
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ประกวดการออกแบบระบบควบคุมภายในตู้อุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทติดตั้งนอกอาคาร จัดโดย สมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ และบริษัท เอ.แอล.ที อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น จำกัด, พฤศจิกายน 2550
  • รางวัลบทความดีเด่น จากผลงานเรื่อง “Inter-frame Coding of Adaptive Mesh-Based Video For Low Bit-rate Communication” ในการประชุมวิชาการนานาชาติ The IASTED International Conference on Networks and Communication Systems (NCS2006), Chiang-Mai, Thailand, 29 – 31 March 2006

อื่น ๆ

  • ผู้พิจารณาบทความ (Reviewer) ของวารสารวิชาการนานาชาติ Transactions of the Journal of Research and Applications in ENGINEERING TRANSACTIONS พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน
  • ผู้พิจารณาบทความ (Reviewer) ของวารสารวิชาการนานาชาติ ECTI Transactions on Computer and Information Technology (ECTI-CIT) พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน
  • ผู้ทรงคุณวุฒิวิภาคการนำเสนอบทความวิจัยและบทความวิชาการในการประชุมวิชาการระดับชาติ 2559 เรื่อง สังคม ความรู้ และดิจิทัล ครั้งที่ 2, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 17 พฤศจิกายน 2559
  • Technical Program Committee ของการประชุมวิชาการนานาชาติ The 30th International Technical Conference on Circuits/Systems, Computers and Communications (ITC-CSCC2015)
  • ผู้ประเมินตำรา การประกวดตำราดีเด่นด้ายวิศวกรรมศาสตร์ประจำปี พ.ศ. 25582558 – ปัจจุบัน โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
  • ผู้พิจารณาบทความ (Reviewer) ของวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พ.ศ. 2558 – ปัจจุบัน
  • ผู้พิจารณาบทความ (Reviewer) ของวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยนเรศวร: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Naresuan University Journal: Science and Technology) พ.ศ. 2558 – ปัจจุบัน
  • ผู้พิจารณาบทความ (Reviewer) ของวารสารวิชาการนานาชาติ Songklanakarin Journal of Science and Technology พ.ศ. 2558 – ปัจจุบัน
  • ผู้พิจารณาบทความ (Reviewer) ของวารสารวิชาการนานาชาติ Journal Thammasat International Journal of Science and Technology พ.ศ. 2558 – ปัจจุบัน
  • Special Session Committee ของการประชุมวิชาการนานาชาติ The 29th International Technical Conference on Circuits/Systems, Computers and Communications (ITC-CSCC2014)
  • ผู้ประเมินตำรา การประกวดตำราดีเด่นด้ายวิศวกรรมศาสตร์ประจำปี พ.ศ. 2557 โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
  • ประธานการประชุมกลุ่มย่อย (Session Chair) งานประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 33, 1 – 3 ธ.ค. 53 ณ โรงแรมเซ็นทารา ดวงตะวัน จังหวัดเชียงใหม่
  • กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ นักศึกษาระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • ประธานการประชุมกลุ่มย่อย (Session Chair) งานประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 32, 28 – 30 ตุลาคม 2552 ปราจีนบุรี
  • ประธานการประชุมกลุ่มย่อย (Session Chair) การประชุมวิชาการนานาชาติ The International Conference on Embedded Systems and Intelligent Technology (ICESIT2009) จัดโดยสมาคมสมองกลฝังตัวแห่งประเทศไทย (TESA) โรงแรมจอมเทียนปาล์มบีช หาดจอมเทียน จ.ชลบุรี วันที่ 11 – 13 ก.พ. 52
  • ผู้พิจารณาบทความ (Reviewer) ของการประชุมวิชาการนานาชาติ The 29th International Technical Conference on Circuits/Systems, Computers and Communications (ITC-CSCC2014)
  • ผู้พิจารณาบทความ (Reviewer) ของวารสารวิชาการนานาชาติ The Kasetsart Journal (Natural Science) พ.ศ. 2556 – ปัจจุบัน
  • ผู้พิจารณาบทความ (Reviewer) ของการประชุมวิชาการนานาชาติ The International Electrical Engineering Congress (iEECON) พ.ศ. 2555 – ปัจจุบัน
  • ผู้พิจารณาบทความ (Reviewer) ของการประชุมวิชาการนานาชาติ The International Computer Science and Engineering Conference (ICSEC) พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน
  • ผู้พิจารณาบทความ (Reviewer) ของการประชุมวิชาการนานาชาติ International Symposium on Communications and Information Technologies (ISCIT) พ.ศ. 2556 – ปัจจุบัน